“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้ว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาขยายความเกี่ยวกับเรื่องค่าและวิธีการที่จะถูกนำเอามาใช้ในการจำแนกว่าโครงสร้างเสา คสล ของเรานั้นมีลักษณะเป็น โครงสร้างเสาที่มีความสั้น หรือ โครงสร้างเสาที่มีความชะลูด ของทั้งวิธีหน่วยแรงใช้งานให้กับเพื่อนๆ ได้รับทราบกันต่อจากในโพสต์ที่แล้วนะครับ ซึ่งก็จะเป็นไปตามที่ผมได้ทำการอธิบายถึงในการโพสต์ครั้งก่อนหน้านี้ว่า … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” การจำแนกประเภทว่าโครงสร้างเสานั้นเป็นโครงสร้างเสาสั้นหรือโครงสร้างเสายาว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ เนื่องจากโพสต์ของผมเมื่อประมาณช่วงต้นเดือนก่อนหน้านี้ซึ่งเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง สมการค่าแรงอัดวิกฤติของออยเลอร์ หรือ EAULER’S CRITICAL LOAD ซึ่งพวกเรานิยมเขียนแทนสั้นๆ ด้วยตัวอักษรย่อว่า Pcr ได้มีเพื่อนผมบนเฟซบุ้คท่านหนึ่งและเค้าก็บังเอิญว่าเป็นแฟนเพจของเพจเราด้วยได้ฝากคำถามเข้ามาว่า … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าวันนี้ผมจะมาทำการอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณออกแบบเหล็กเสริมเพื่อใช้ในการต้านทานแรงเฉือนเสียดทานตามที่มาตรฐานการออกแบบได้ทำการระบุเอาไว้ ซึ่งผมก็จะขออ้างอิงไปที่มาตรฐานการออกแบบ EIT-10104-58 และ ACI318 เป็นหลักนะครับ ก่อนอื่นเรามาดูหน้าตาของสมการที่ใช้ในการคำนวณหาพื้นที่หน้าตัดของเหล็กเสริมที่ใช้ในการต้านทานแรงเฉือนเสียดทานที่มาตรฐานการออกแบบได้กำหนดให้ใช้กันก่อน ซึ่งก็จะได้จากการย้ายข้างเพื่อเป็นการแก้สมการEQ.(7) ในการโพสต์ครั้งที่แล้วและก็ทำการเปลี่ยนตัวแปรจากค่า … Read More

“ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” แรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR FAILURE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ อย่างที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ ไว้เมื่อในสัปดาห์ก่อนหน้านี้แล้วว่าวันนี้ผมจะเริ่มมาลงเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องของ รูปแบบของการวิบัติเนื่องด้วยแรงเฉือนโดยตรง หรือ DIRECT SHEAR FAILURE ซึ่งก็จะทำให้โครงสร้างคาน คสล ของเราวิบัติได้เช่นเดียวกัน … Read More

ถามตอบชวนสนุก ตอบปัญหาขนาดความลึกน้อยที่สุดของโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมามีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์สอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับประเด็นๆ หนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับ สมการที่ใช้ในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงภายในหน้าตัดของโครงสร้างคาน คสล ว่าเพราะเหตุใดหน้าตาของสมการจึงออกมาดังรูปที่ได้แสดงประกอบอยู่ในโพสต์ๆ นี้ ? ซึ่งผมก็ได้ตอบไปในแชทแทบจะในทันทีเลยว่า … Read More

เทคนิคในการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ระบบแผ่นพื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการพูดถึงเกี่ยวกับเรื่อง ระบบแผ่นพื้น ที่มีการใช้งานในระบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณจบไปเป็นที่เรียบร้อยแล้ว วันนี้ผมจึงคิดว่าน่าจะถึงเวลาที่จะขึ้นหัวข้อใหม่แต่เก่า … ไม่งงใช่มั้ยครับ ? สาเหตุที่ผมแจ้งว่าหัวข้อในวันนี้เป็นหัวข้อใหม่แต่ก็เก่าด้วยนั้นเป็นเพราะว่า ก่อนหน้านี้ผมเคยพูดถึงเรื่องๆ นี้ไปบ้างแล้ว เพียงแต่เป็นการอธิบายโดยสังเขป … Read More

พื้นฐานและประสบการณ์ในการออกแบบ ซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตคั่นการโพสต์เกี่ยวกับเรื่องเทคนิคต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องพื้นฐานและประสบการณ์ในการออกแบบที่ผมเคยได้เกริ่นไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าผมจะค่อยๆ ทยอยนำเอามาฝากและเล่าสู่กันฟังแก่น้องๆ เนื่องด้วยผมมีโอกาสได้ไปพบเจอเข้ากับโพสต์ดีๆ โพสต์หนึ่งซึ่งจริงๆ แล้วเป็นบทความที่เขียนโดยท่านอาจารย์จิรายุทธ สืบสุข ซึ่งท่านได้เขียนเอาไว้ดีมากๆ วันนี้จึงขออนุญาตนำเอาบทความๆ นี้มาแบ่งปันกับเพื่อนๆ … Read More

สมการในการคำนวณหาค่ากำลังของเสาเข็มแบบพื้นฐานจากผลการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ซึ่งคำถามในวันนี้นั้นสืบเนื่องมาจากคำถามในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งได้มีแฟนเพจถามเข้ามาเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาค่ากำลังความสามารถในการรับกำลังของโครงสร้างเสาเข็ม โดยที่ใจความของคำถามก็คือ จากทั้งสามค่าที่ผมได้นำเอามาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ไปในสัปดาห์ก่อนดังต่อไปนี้ Qt = TENSION CAPACITY OF PILE … Read More