การทดสอบเพื่อหาความยาวของโครงสร้างเสาเข็มโดยวิธีการทดสอบทางอ้อม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ หากเพื่อนๆ มีโอกาสที่จะต้องไปทำการสำรวจอาคารที่มีการก่อสร้างเอาไว้แต่เดิมเพื่อจุดประสงค์ใดจุดประสงค์หนึ่งซึ่งหนึ่งในการะบวนการที่สำคัญขั้นตอนหนึ่งในการสำรวจอาคารก็คือ เรื่องโครงสร้างเสาเข็ม ตามปกติแล้วในการสำรวจอาคารเราอาจจะสามารถทำการเปิดโครงสร้างไปจนถึงปลายด้านล่างสุดของโครงสร้างฐานรากได้เลย ซึ่งก็จะทำให้เรานั้นสามารถที่จะมองเห็นได้ว่าโครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นโครงสร้างเสาเข็มชนิดใด ก่อสร้างด้วยกรรมวิธีการใด มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเป็นเท่าใด แต่ สิ่งที่จะเป็นปัญหาหนักที่สุดที่เพื่อนๆ อาจจะต้องพบเจอก็จะเป็นคำถามว่า … Read More

สมการในการคำนวณหาค่ากำลังของเสาเข็มแบบพื้นฐานจากผลการทดสอบดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ซึ่งคำถามในวันนี้นั้นสืบเนื่องมาจากคำถามในสัปดาห์ที่แล้วซึ่งได้มีแฟนเพจถามเข้ามาเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาค่ากำลังความสามารถในการรับกำลังของโครงสร้างเสาเข็ม โดยที่ใจความของคำถามก็คือ จากทั้งสามค่าที่ผมได้นำเอามาอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ไปในสัปดาห์ก่อนดังต่อไปนี้ Qt = TENSION CAPACITY OF PILE … Read More

ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง – สมบัติเรื่องการแตกร้าวที่เกิดขึ้นในคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้เดินทางไปตรวจสอบการทำงานที่หน้างานและก็มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่อง “พฤติกรรมของการแตกร้าวในคอนกรีต” ซึ่งเอาเข้าจริงๆ ผมก็ได้ให้คำอธิบายในเบื้องต้นไปบ้างแล้ว ดังนั้นในทุกๆ วันจันทร์ของช่วงนี้ผมก็เลยอยากจะขออนุญาตนำเอาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง คุณสมบัติเรื่องการแตกร้าวที่เกิดขึ้นในคอนกรีต เอามาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ซึ่งเนื้อหาโดยส่วนใหญ่นั้นตัวผมเองนั้นก็เคยได้นำเอามาเผยแพร่ให้กับเพื่อนๆ ในรูปแบบของบทความไปก็นานพอสมควรแล้วแต่ไม่เป็นไรนะ เอาเป็นว่าหากเพื่อนๆ ท่านใดที่อาจจะเคยได้มีโอกาสอ่านบทความในครั้งนั้น … Read More

การพิจารณาเรื่องดินหรือ SOIL BORING TEST

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ในรูปทั้งสองที่ผมได้แนบมาในโพสต์ๆ นี้จะแสดงให้เห็นถึงผลที่ได้จากการทำการทดสอบดินหรือ SOIL BORING TEST จากในสถานที่ก่อสร้างจริงแห่งหนึ่งในเขตจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ … Read More

ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง – คุณสมบัติเรื่องการแตกร้าวที่เกิดขึ้นในคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากเมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้เดินทางไปตรวจสอบการทำงานที่หน้างานและก็มีน้องวิศวกรท่านหนึ่งสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่อง “พฤติกรรมของการแตกร้าวในคอนกรีต” ซึ่งเอาเข้าจริงๆ ผมก็ได้ให้คำอธิบายในเบื้องต้นไปบ้างแล้ว ดังนั้นในทุกๆ วันจันทร์ของช่วงนี้ผมก็เลยอยากจะขออนุญาตนำเอาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง คุณสมบัติเรื่องการแตกร้าวที่เกิดขึ้นในคอนกรีต เอามาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ ซึ่งเนื้อหาโดยส่วนใหญ่นั้นตัวผมเองนั้นก็เคยได้นำเอามาเผยแพร่ให้กับเพื่อนๆ ในรูปแบบของบทความไปก็นานพอสมควรแล้วแต่ไม่เป็นไรนะ เอาเป็นว่าหากเพื่อนๆ ท่านใดที่อาจจะเคยได้มีโอกาสอ่านบทความในครั้งนั้น … Read More

ถาม-ตอบชวนสนุก – ปัญหาโครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE A B … Read More

ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อคุณผู้หญิง – ระยะห่างระหว่างแผ่นเหล็กกับโครงสร้างฐานคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เพื่อนๆ อาจจะสงสัยว่าเพราะเหตุใดช่วงนี้ผมมักจะพูดถึงเรื่องราวต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบโครงสร้างเหล็กรูปพรรณเยอะนิสนึง นั่นเป็นเพราะชุดคำถามที่ผมได้นำเอามาโพสต์ในช่วงนี้จะมาจากการตั้งคำถามของน้องผู้หญิงท่านหนึ่งเกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ ซี่งผมมีความยินดีเป็นอย่างยิ่งที่จะมาทยอยตอบให้ ดังนั้นผมเชื่อว่าเรื่องราวในวันนี้น่าที่จะเป็นประโยชน์ต่อน้องท่านนี้และเพื่อนๆ ทุกคนด้วยนั่นก็คือ “หนูสังเกตเห็นว่าหลสายๆ ครั้งที่บริเวณใต้แผ่นเหล็กหรือ BASE PLATE … Read More

ตอบปัญหาโครงสร้างหลังคายื่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากรูปโครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF STRUCTURE A B … Read More

วิศวกรรมการคำนวณ – การออกแบบการสั่น อันเนื่องมาจากเครื่องจักร ครั้งที่2

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้เมื่อสัปดาห์ก่อนว่าในวันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องการออกแบบการสั่นอันเนื่องมาจากเครื่องจักรเอามามาพูดถึงและอธิบายให้แก่เพื่อนๆ ให้มีความรู้และความเข้าใจที่มากยิ่งขึ้นและหากจะว่ากันด้วยเรื่องรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกันกับเรื่องๆ นี้แล้วเนื้อหาทั้งหมดของมันนั้นมีอยู่ด้วยกันค่อนข้างที่จะเยอะมากเลยทีเดียว ดังนั้นเพื่อให้การโพสต์ตลอดก่อนที่จะถึงช่วงปีใหม่นั้นมีความกระชับและได้ประโยชน์สูงสุดผมจึงจะขออนุญาตเลือกหัวข้อที่มีความสำคัญมาก 2 ประเด็นมาพูดถึงนั่นก็คือ 1. รูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร 2. รูปแบบและวิธีแก้ไขการสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากเครื่องจักร เมื่อในสัปดาห์ที่แล้วผมได้พูดถึงหัวข้อที่ 1 เรื่องรูปแบบของการสั่นสะเทือนและวิธีในการทำการตรวจวัดการสั่นสะเทือนของเครื่องจักร และในสัปดาห์นี้ซึ่งก็คือวันศุกร์ที่ 25 ก็จะถือได้ว่าเป็นวันศุกร์สุดท้ายของปี … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง – โครงสร้างหลังคายื่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ หลังจากที่ในหลายๆ สัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมเคยได้พูดถึงเรื่องโครงสร้างๆ หนึ่งในการโพสต์หลายๆ ครั้งของผม ซึ่งตลอดเวลาที่ผ่านมานั้นตัวของผมเองก็ไม่เคยมีโอกาสที่จะได้ทำการขยายความและอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างๆ นี้โดยละเอียดสักที ผมเลยอยากจะขอใช้พื้นที่ในการโพสต์ประจำทุกๆ วันพุธแบบนี้ในการพูดถึงเรื่องของเจ้าโครงสร้างประเภทนี้นั่นก็คือ โครงสร้างหลังคายื่น หรือ CANOPY ROOF … Read More

1 2 3 4 5